Conçue pour faire concurrence à La Rochelle, Brouage fut pendant longtemps une cité prospère, bastion de l’Eglise catholique dans ce pays Huguenot. “Plus beau havre de France”, “Babel où L’on parle vingt langues”, le rayonnement de Brouage est certainement pour beaucoup dans le destin de Samuel Chaplain, natif de la ville et fondateur de Québec en 1680. Brouage était alors un port de mer, mais l’envasement gagna peu à peu sa baie, accelerant le déclin de cette cité fortifiée, devenue aujourd’hui cite fantôme au milieu desd maris. C’est grace au tourisme qu’elle revit aujourd’hui, puisqu’on découvre en elle un admirable conservatoire de l’art de fortifications avant Vauban.
บรูอาชได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้เป็นคู่แข่งกับลาโรเซลและเมืองที่เจริญมั่งคั่งอยู่เป็นเวลานาน นอกจากนั้นยังเป็นที่ปกป้องศาสนาคริสต์คาทอลิค บนดินแดนของพวกกัลวานิสต์ บรูอาชได้ชื่อว่าเป็นเมืองท่าที่สวยที่สุดในฝรั่งเศสเป็น “เมืองบาบิโลนเมืองที่มีคนพูดภาษาต่างๆถึง 20 ภาษา” ความรุ่งเรืองของบรูอาชมีอิทธิพลอย่างมากต่อชีวิตของ ซามูเอล ชองแลง ซึ่งเป็นคนเมืองนี้และเป็นผู้ก่อตั้งแคว้นควีเบค ในปี 1680 เมืองบรูอาชแต่ก่อนเป็นเมืองท่าแต่ตอนหลังได้มีดินโคลนทับทมอ่าวมากขึ้น ซึ่งปัจจัยกระตุ้นให้ป้อมปราการที่นี่ถึงจุดจบเร็วขึ้น และกลายเป็นปราสาทผีสิงที่ตั้งอยู่กลางแอ่งน้ำทุกวันนี้ ธุรกิจการท่องเที่ยวได้ทำให้ป้อมปราการแห่งนี้มีชีวิตขึ้นมาอีกครั้ง เนื่องจากถูกใช้เป็นโรงเรียนสอนศิลปะการก่อสร้างป้อมปราการในยุคก่อนโวบอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น