24/11/51

Tour de France


ตูร์เดอฟรองซ์ (ฝรั่งเศส: Tour de France หมายถึง การท่องฝรั่งเศส) หรือบางครั้งเรียกว่า ลากรองด์บูกล์ (La Grande Boucle) และ เลอตูร์ (Le Tour) เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลรอบประเทศฝรั่งเศส ซึ่งจัดขึ้นเป็นเวลา 3 สัปดาห์ในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1903 จนถึงปัจจุบัน (เว้นการจัดแข่งขันในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสอง) ตูร์เดอฟรองซ์ เป็นการแข่งขันจักรยานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลหนึ่งในสามรายการใหญ่ ที่จัดการแข่งขันในยุโรป รวมเรียกว่า แกรนด์ทัวร์ โดยอีกสองรายการคือ


-จีโรดีตาเลีย (Giro d'Italia) จัดในอิตาลี ช่วงเดือนพฤษภาคม-ต้นมิถุนายน
-วูเอลตาอาเอสปันญา (Vuelta a España) จัดในสเปน ช่วงเดือนกันยายน


การแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1903 เกิดขึ้นเนื่องจากการท้าทายกันทางหน้าหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสชื่อ โลโต้ (L'Auto) มีนักแข่งเข้าร่วมจำนวนถึง 60 คน แต่สามารถเข้าเส้นชัยได้เพียง 21 คน ซึ่งกิตติศัพท์ของความยากลำบากในการแข่งขัน ทำให้การแข่งขันนี้เป็นที่สนใจ และมีผู้ชมการแข่งขันช่วงสุดท้ายในกรุงปารีส ตามสองฟากถนนระหว่างทางราว 100,000 คน และกลายเป็นประเพณี ที่การแข่งขันทุกครั้งจะไปสิ้นสุดที่ประตูชัย จตุรัสเดอเลตวล ปารีสในปี ค.ศ. 1910 เริ่มมีการจัดเส้นทางแข่งขันเข้าไปในเขตเทือกเขาแอลป์ ปัจจุบันเส้นทางการแข่งขันจะผ่านทั้งเทือกเขาแอลป์ ทางตะวันออก และเทือกเขาพีเรนีสทางใต้ของฝรั่งเศส การแข่งขันตูร์เดอฟรองซ์จะแบ่งเป็นช่วง (stage) เพื่อเก็บคะแนนสะสม ผู้ชนะในแต่ละช่วงจะได้รับเสื้อ (jersey) เพื่อสวมใส่ในวันต่อไป โดยมีสีเฉพาะสำหรับผู้ชนะในแต่ละประเภท คือ

-สีเหลือง (maillot jaune - yellow jersey) สำหรับผู้มีคะแนนรวมสูงสุด

-สีเขียว (maillot vert - green jersey) สำหรับผู้ชนะในแต่ละสเตจ

-สีขาวลายจุดสีแดง (maillot à pois rouges - polka dot jersey) สำหรับผู้ชนะในเขตภูเขา ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะว่า จ้าวภูเขา King of the Mountains

-สีขาว (maillot blanc - white jersey) สำหรับผู้มีคะแนนรวมสูงสุด ที่อายุต่ำกว่า 25 ปี

-สีรุ้ง (maillot arc-en-ciel - rainbow jersey) สำหรับผู้ชนะการแข่งขันจักรยานชิงแชมป์โลก (World Cycling Championship) ซึ่งมีกฏว่าจะต้องใส่เสื้อนี้เมื่อแข่งขันในประเภทเดียวกับที่ผู้แข่งนั้นเป็นแชมป์โลกอยู่

-เสื้อแบบพิเศษ สำหรับผู้มีคะแนนรวมสูงสุด และชนะการแข่งขันช่วงย่อย และจ้าวภูเขา


รายชื่อผู้ชนะเลิศตั้งแต่ครั้งแรกในภาษาอังกฤษอยู่ทางด้านขวา แลนซ์ อาร์มสตรอง นักแข่งจักรยานชาวอเมริกัน เป็นผู้ที่ชนะการแข่งขันตูร์เดอฟรองซ์มากที่สุด คือ 7 สมัยติดต่อกัน รองมาคือ มีเกล อินดูเรน (สเปน) ชนะ 5 สมัยติดต่อกัน แบร์นาร์ อีโนล (ฝรั่งเศส) ชาก อองเกอตีล (ฝรั่งเศส) และเอดดี เมิกซ์ (เบลเยียม) ชนะคนละ 5 สมัย

ผู้ชนะเลิศตั้งแต่ปี ค.ศ.1991

1. การแข่งขันครั้งที่ 78-82 ปี ค.ศ. 1991-1995 คือ มีเกล อินดูเรน (5 ปีติดต่อกัน)

2. การแข่งขันครั้งที่ 83 ปี ค.ศ. 1996 คือ บียานร์น รีส์

3. การแข่งขันครั้งที่ 84 ปี ค.ศ. 1997 คือ แยน อุลริช

4. การแข่งขันครั้งที่ 85 ปี ค.ศ. 1998 คือ มาร์โก แพนตานี

5. การแข่งขันครั้งที่ 86-92 ปี ค.ศ. 1999-2005 คือ แลนซ์ อาร์มสตรอง (7 ปีติดต่อกัน)

6. การแข่งขันครั้งที่ 93 ปี ค.ศ. 2006 คือ โอสการ์ เปเรย์โร ( ฟลอยด์ แลนดิส ถูกตัดสิทธิ์เนื่องจากใช้สารกระตุ้น)

7. การแข่งขันครั้งที่ 94 ปี ค.ศ. 2007 คือ อัลเบอร์โต คอนทาดอร์


8. การแข่งขันครั้งที่ 95 ปี ค.ศ. 2008 คือ สเตฟาน ชูมัคเกอร์


ในปี 2007 บียานร์น รีส์ ยอมรับว่าได้ใช้สารกระตุ้นระหว่างการแข่งขันทำให้ผู้จัดการแข่งขันปฏิเสธที่จะยอมรับสถานะผู้ชนะเลิศของเขา ทว่าสหพันธ์จักรยานสากล (Union Cycliste Internatinale - UCI) แถลงว่าหมดเวลาที่จะตัดสิทธิ์เขาจากการเป็นผู้ชนะเลิศ จึงเพียงแต่ขอร้องให้เขาคืนเสื้อสีเหลืองที่แสดงสถานะของการเป็นผู้ชนะเลิศ

15/8/51

La famille

Le mari = แม่
La femme = พ่อ
Un enfants = ลูก
Un fils = ลูกชาย
Une fille = ลูกสาว
Le parent = ญาติ
Le frère = พี่ชาย
La sœur = น้องสาว
La belle-fille = ลูกสะใภ้
Le beau-père = พ่อตา
Sa belle-mère = แม่ยาย
Les beaux-parents = พ่อตาและแม่ยาย
La belle-sœuer =พี่สะใภ้
Le gendre = ลูกเขย
Le belle-frère = น้องเขย
Les petits = หลาน(ในไส้)
Petite-fille = หลานสาว
Leur pertit-fils = หลานชาย
Les grands-parents = ปู่กับย่า ตากับยาย
Grand-père = ปู่หรือตา
Grand-mère = ย่าหรือยาย
Le cousin = ลูกพี่ลูกน้อง(ชาย)
La cousine = ลูกพี่ลูกน้อง(หญิง)
L’oncle = ลุง
La tante = ป้า
Le neveu = หลานชาย
La nièce = หลานสาว

L'emploi du Temps de M.4/5



Le français = ภาษาฝรั่งเศษ
L’ anglais = ภาษาอังกฤษ
Les maths = คณิตศาสตร์
Les sciences socials = สังคมศึกษา
Les sciences = วิทยาศาสตร์
Le thaï = ภาษาไทย
Les arts = ศิลปะ
Les informatique = คอมพิวเตอร์
La chimie = เคมี
Le cours d’orientattions = แนะแนว
Le cours d’hygiène = สุขะ
La physique = ฟิสิกส์
Le cours militaire = รักษาดินแดน(ร.ด.)
Le cours discipline = พระพุทธ
Le biologie = ชีวะวิทยา
Le cours d’agriculture = เกษตร
L’écriture thaïe = การเขียน

13/7/51

La France métropolitaine

La France métropolitaine

- Belgique
- Luxembourg
- Siusse
- Italie
- Espagne

La Monde Francophone
Langue manternelle

- Belgique
- Luxembourg
- Suisse
- Québec
- Haïti
- Guadeloupe
- MartiniQue
- Guyane
- Mayotte
- La Réunion
- Kerguelen
- Wallis et Futuna
- Nouvelle-Calédonie

Lague ďenseignement privillégiée

- Roumanie
- Bulgarie
- Tunisie
- Algérie
- Maroc
- Viêt-Nam
- Laos
- Cambodge

Laugue officelle

- Niger
- Tchad
- Djibouti
- Centrafrique
- Zaïre
- Rwanda
- Burundi
- Congo
- Gabon
- Bénin
- Togo
- Côte-ďlvoire
- Guinée
- Sénégal
- Burkina-Faso
- Mali
- Mauritanie
- Madagascar

4/7/51

Les monument en France

Hotel des Invalides กษัตริย์หลุยส์ ๑๔ โปรดให้สร้างขึ้นในปี ๑๖๗๑ เพื่อเป็นที่พักของทหารผ่านศึก และสร้างโบสถ์แซงต์-หลุยส์ (Eglise Saint -Louis) สำหรับทหารด้วย สถานที่นี้สร้างในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เอาไว้ใช้พักฝื้นทหารที่ได้รับบาดเจ็บ อาจจะเรียกได้ว่าเป็นทั้งบ้านและโรงพยายาบเลยก็ได้ในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สถานที่แห่งนี้เป็นอนุสรณ์สถาน เพื่อให้ทหารที่บาดเจ็บหรือพิการจากสงคราม ได้พักอาศัย ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ สังกัดกระทรวงกลาโหม แห่งฝรั่งเศส ใช้เป็นคลังเก็บอาวุธและเสื้อผ้าของทหารในสงคราม
Les Invalides อาคารรูปโดม ข้างในเปนหลุมฝังศพของนโปเลียนที่1 ดูภายนอกเหมือนกับ Le Panthéon แต่ยอดของ Les Invalides มีทองประดับ

เลแซงวาลิด (LES INVALIDES) ซึ่งเป็นหลุมฝังศพของนโปเลียน (TOMBEAU NAPOLÉON) และพิพิธภัณฑ์ทหาร (MUSÉE DE L’ARMÉE) เป็นโบสถ์ที่มีโดมสีทองตั้งเด่นสง่าอยู่กลางกรุงปารีส สามารถมองเห็นได้จากระยะไกล สร้างในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ต่อมาเมื่อจักรพรรดิ นโปเลียนที่ ๑ สิ้นพระชนม์ จึงได้รับการปรับปรุงให้เป็นหลุมฝังศพของพระองค์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๐๓ (ค.ศ.๑๘๖๐) เป็นต้นมา สำหรับพิพิธภัณฑ์ทหารนั้น เดิมเป็นโรงพยาบาลและที่พักฟื้นของทหารผ่านศึกในยุคสงครามของจักรพรรดินโปเลียน ปัจจุบันได้รับการดัดแปลงเป็นพิพิธภัณฑ์ทหาร จัดแบ่งออกเป็นส่วนตามยุคต่าง ๆ ได้แก่ ยุคก่อนนโปเลียน ยุคสมัยจักรพรรดินโปเลียน ยุคสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ และยุคสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ เป็นต้น

L'hôtel national des Invalides est un monument parisien dont la construction fut ordonnée par Louis XIV par l'ordonnance du 24 février 1670, pour abriter les invalides de ses armées. Aujourd'hui, il accueille toujours des invalides, mais également plusieurs musées et une nécropole militaire.

Historique
Le roi Louis XIV souhaitait comme ses prédécesseurs
Henri III et Henri IV, assurer aide et assistance aux soldats invalides de ses armées ; pour que « ceux qui ont exposé leur vie et prodigué leur sang pour la défense de la monarchie passent le reste de leur jours dans la tranquillité », dit l'édit royal de 1670.Situés dans la plaine de Grenelle, alors faubourg de Paris, les travaux des bâtiments principaux sont confiés à Libéral Bruant par Louvois. Bruant conçoit une organisation en cinq cours, centrée sur la plus grande : la cour royale. Les travaux sont menés entre mars 1671 et février 1677, ce qui peut être qualifiés de rapides (les premiers pensionnaires sont hébergés dès octobre 1674). La face arrière de la grande cour est cependant détruite moins d'un an après son achèvement, pour laisser place aux fondations du grand dôme.L'église, initialement prévue par Bruant, semble déplaire et sa construction est confiée à partir de mars 1676 à Jules Hardouin-Mansart qui travaille également aux pavillons d'entrée et aux infirmeries. La construction de l'édifice religieux dure près de 30 ans et n'est achevée que le 28 août 1706, date de la remise des clés par l'architecte au roi soleil. Le bâtiment est, en fait, double, même s'il existe une continuité architecturale : la nef constitue l’église des soldats, le chœur, sous la coupole, étant qualifié d’église du dôme. Cette distinction est concrétisée par la mise en place, en 1873, d'une grande verrière, séparant les deux parties.L'hôtel des Invalides comprend alors, outre l'église, une manufacture (confection d'uniforme et imprimerie), un hospice ("maison de retraite") et un hôpital militaire. Les ateliers initiaux sont rapidement abandonnés pour faire des chambrées supplémentaires.Le 15 juillet 1804 eut lieu en la chapelle des Invalides la toute première remise de Légion d'honneur par Napoléon aux officiers méritants au cours d'une fastueuse cérémonie officielle.L'hôtel se dote très tôt d'une fonction muséographique : musée d'artillerie en 1872 et musée historique des armées en 1896, réunis en musée de l'armée en 1905.L'hôtel des Invalides accueille encore aujourd'hui une centaine de retraités et invalides des armées françaises. L'administration chargée de cette mission est l'Institut national des invalides.

13/6/51

FICHE PERSONNELLE




NOM: CHINAKORN
PRÉNOM: Theethat
DATE DE NAISSCE: 13/10/1992
LIEU DE NAISSANCE: Pitsanulok
SITUATION DE FAMILLE: Célibataire
PROFESSION: étudiant
ADRESSE: 455/349 T.Sansainoi A.Sansai Chaing-Mai